กีฬา อี สปอร์ต คือ

กีฬา อี สปอร์ต คือ

กีฬา อี สปอร์ต คือ ปัจจุบันได้รับความนิยมไปทั่วโลก ถือว่าเป็นมิติใหม่ของวงการกีฬา ซึ่งกีฬาอิเล็กทรอนิกส์ถือเป็นกีฬาที่ไม่ต้องใช้แรงกาย แต่ใช้สมองเป็นส่วนสำคัญ โดยมีอุปกรณ์กีฬาคือเครื่องคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือ โดยผู้เล่นไม่จำเป็นต้องใช้แรงกายในการแข่งขันเหมือนกีฬาอื่น ๆ แต่ต้องใช้สมองในการคิดวิเคราะห์ เพื่อนำปสู่ชัยชนะ สิ่งจำเป็นสำหรับกีฬาชนิดนี้ไม่แตกต่างไปจากการเล่นกีฬาอื่น ๆ ตรงที่ ผู้เล่นต้องมีทักษะ การวางแผนการเล่น และฝึกซ้อมอย่างสม่ำเสมอ จึงจะนำไปสู่นักกีฬามืออาชีพที่สามารถคว้ารางวัลมาได้มากมาย อีสปอร์ตคือ

เนื่องจากกีฬาอิเล็กทรอนิกส์ หรือ eSports เป็นการต่อยอดมาจากเกมออนไลน์ทั่วไปทั้งเกม PC หรือ Mobile game ที่ทำให้ผู้เล่นมีจุดเป้าหมายในการเล่มเกมเพิ่มมากขึ้น แน่นอนว่าผู้ใหญ่และหรือผู้ปกครองส่วนใหญ่อาจจะมองว่าเด็กที่เล่นเกมนั้นจะตกอยู่ในโลกของจอสี่เหลี่ยม ตกอยู่ในกลุ่มเพื่อนกลุ่มเดียวกันที่อาจจะเจอกันเฉพาะทางออนไลน์ และเมื่อเด็กเล่นเกมต่อเนื่องอาจส่งผลต่อพฤติกรรมในการใช้ชีวิตในสังคมจริง เกมจะส่งผลให้พฤติกรรมของเด็กเปลี่ยนแปลงไปกลายเป็นเด็กก้าวร้าวได้

อีสปอร์ต คือ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลเผยผลการศึกษาและสำรวจข้อมูลพฤติกรรมผู้เล่นเกมปี 2566 ซึ่งเป็นการสำรวจด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบเผชิญหน้า โดยใช้แบบสำรวจข้อมูลพฤติกรรมแบบมีโครงสร้าง กลุ่มเป้าหมายคือผู้เล่นเกมเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพหมานคร โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสำรวจครั้งนี้ จำนวน 400 ตัวอย่าง ซึ่งคุณสมบัติกลุ่มเป้าหมายที่สำรวจคือ เป็นผู้ที่เล่นเกมโดยมีพฤติกรรมการเล่นเกมอย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์และไม่น้อยกว่า 30 นาทีต่อสัปดาห์ สามารถสรุปผลการสำรวจข้อมูลพฤติกรรมผู้เล่นเกมได้ดังนี้

  • สถานที่เล่นเกม: ผู้เล่นเกมส่วนใหญ่จะเล่นที่ บ้านตัวเอง, บ้านเพื่อน และ ระหว่างการเดินทาง
  • จุดประสงค์หลักของการเล่นเกม: ส่วนใหญ่เล่นเพื่อความสนุกสนาน ฆ่าเวลา แก้เบื่อ และคลายความตึงเครียด
  • สำหรับการเล่นเกมผู้เล่นเกมมีค่าใช้จ่ายในเกมโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 198 บาทต่อเดือน
  • จากค่าใช้จ่ายดังกล่าวผู้เล่นเกมจ่ายเงินผ่านทางช่องทางการเติมเงินเป็นหลักนั่นคือ True Money, Garena และช่องทางบัตรเครดิตตามลำดับ
  • เวลาที่ใช้ในการเล่นเกมโดยเฉลี่ย จะใช้เวลาในการเล่นกับผ่านมือถือที่ 12 ชม.ต่อสัปดาห์, ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ 13 ชม.ต่อสัปดาห์, ผ่านแท็ปเล็ตและเครื่องเกม Handheld เท่ากันที่ 7 ชม.ต่อสัปดาห์ และ เครื่อง Console อยู่ที่ 19 ชม.ต่อสัปดาห์
  • และเกมยอดนิยมที่ผู้เล่นเกมส่วนใหญ่เล่น คือ ROV, Candy Crush, Pub-G เป็นต้น

ข้อดี – ข้อเสีย e-sport กีฬา อี สปอร์ต คือ

กีฬา อี สปอร์ต คือ ที่มีการยอมรับอย่างกว้างขวางและเป็นกีฬาที่นิยมทั่วโลก โดยส่วนประกอบหลักๆของ e-sport ไม่ได้แตกต่างจากกีฬาอื่นๆ เช่น นักกีฬา อุปกรณ์กีฬา(เมาส์ คีย์บอร์ด หูฟัง ) ซึ่งก็คือพวกคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ต่างไที่สนับสนุนการเล่นเกมส์ ทักษะการฝึกการซ้อมอย่างทุ่มเท ในปัจจุบัน ได้มีทีมกีฬาและการ แข่งขัน E-Sports เกิดขึ้นมากมาย และมีรายการ major หรือรายการใหญ่สำหรับ E-Sports อย่างเช่น E-Sports world championship, World Cyber Games championship, SpecialForce World Championship และอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งรายการเหล่านี้มีผู้เข้าร่วมการแข่งขันเป็นจำนวนมาก เทคโนโลยีต่างเพื่อช่วยในการหาความรู้ ทำงาน สื่อสาร และเพื่อความบันเทิง การใช้งานเทคโนโลยีเพื่อความบันเทิงจะมีหลายรูปแบบ เช่น การดูหนัง การฟังเพลง การเล่นเกม และสิ่งที่ทุกวันนี้ผู้คนที่นิยมแล้วใช้เพื่อเป็นการคลายเครียดเยอะมาก คือการเล่นเกม เพราะเกมสามารถเล่นได้ทุกวัย เล่นด้วยกันเพื่อสังสรรค์ เล่นเป็นครอบครัว เล่นกับเพื่อนๆ ได้ เป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่สามารถใช้ผ่อนคลายเวลาว่างได้ ไม่ใช่แค่เป็นการเล่นเกมเพื่อความสนุกและผ่อนคลายอย่างเดียว การเล่นเกมทุกวันนี้สามารถทำเป็นอาชีพได้

ข้อดี

  • สามารถสร้งาชื่อเสียงของตนเองและประเทศชาติในการเเข่งขัน e-sport
  • สามารถสร้างรายได้ในอนาคต ด้วยชื่อเสียงของตัวเองได้
  • เพิ่มทักษะความสามารถ ทำรายได้จริง เล่นได้เก่ง
  • ฝึกฝนมีวินัยในตัวเอง ไม่ใช่เเค่การเล่นเกมทั้งวัน แต่สามารถที่จะฝึกซ้อม สามารถเอาวินัยตรงนี้ไปใช้ในชีวิตจริงได้
  • มีสมาธิก่อให้เกิดความตั้งใจในการทำงานอื่นๆ ก่อให้เกิดจากความตั้งใจและเรียนรู้ทักษะที่ถูก
  • มีส่วนช่วยในการจดจำเพราะสมองพบเจอเเต่สิ่งที่ต้องรู้อยู่ตลอดเวลา
  • ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่ามากขึ้น

ข้อเสีย

  • ศักยภาพด้านอื่นๆ ไม่ได้ถูกพัฒนาเพราะในหัวมีแต่เรื่องเกม ส่งผลใหเมีประสิทธิภาพน้อยลง
  • อาจจะกลายเป็นคนใจร้อน หัวรุนแรง เพราะผู้ที่เล่นเกมใช้อารมณ์ร่วมในการเล่น ทำให้มีนิสัยก้าวร้าว
  • ทำให้คนติดเกมไม่รู้ตัว เพราะเข้าใจว่าอยากเป็นนักกีฬาต้องเล่นเกมเยอะๆ
  • เสียเวลาในการทำงาน เช่น เวลาไปอ่านหนังสือ การออกกำลัง
  • ขาดรายได้ในการใช้จ่าย
  • ภาพลักษณ์ภายนอกถูกมองว่าเป็นคนติดเกม
  • ทำให้เสียสุขภาพ เสียสายตา
  • ขาดการปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อผู่อื่น ไม่ค่อยสนใจโลกภายนอก

กีฬาอีสปอร์ตคืออะไร จากชื่อและรูปแบบการแข่งขัน เป็นเรื่องปกติที่จะเห็นความแตกต่างระหว่าง esports และกีฬาจริง แต่มีความแตกต่างที่ชัดเจน การมีส่วนร่วมทางอารมณ์หลังการแข่งขันหรือขึ้นอยู่กับการมีส่วนร่วมในเกม โดยปกติแล้วในกีฬาทั่วๆ ไป หลังจากจบเกม พวกเขาจะทำอะไรกันน้อยมากและคุยกันหลังจบเกม หรือแม้แต่กีฬาต่างประเทศที่สิ้นสุดในเวลาเที่ยงคืน แต่สำหรับ esports ในเกม คุณสามารถเข้าแชทและเข้าร่วมเกมได้ อีกทางหนึ่ง หากอารมณ์ค้างหลังจากจบเกม คุณสามารถเล่นเกมที่เพิ่งเล่นจบไป ใช้ทักษะที่คุณเห็นเพื่อปรับปรุงตัวเอง ที่นี่การดูอีสปอร์ตกับการดูกีฬาทั่วไปนั้นไม่เหมือนกัน ดังนั้น เราต้องแยกประเด็นให้ออก บางคนชอบดูกีฬาแต่ไม่เคยมีโอกาสได้เล่น ฉันเล่นไม่ได้ด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น ดูบอลแต่ฉันไม่แข็งแรงพอ ไม่มีสนามฟุตบอลให้เล่น ฉันไม่เก่งกีฬาอีสปอร์ต และฉันก็เล่นเป็น ทันทีที่ฉันชอบมัน

ดังนั้นความผูกพันทางอารมณ์ที่ได้รับจึงสูงขึ้น เมื่อพิจารณาจากส่วนการแข่งขันแล้ว อาจสรุปได้ว่ากีฬาจริง ๆ นั้นต้องใช้พลังงานอย่างมาก สิ่งนี้ไม่เป็นความจริงเสมอไป และไม่ได้เปรียบเทียบอีสปอร์ตกับกีฬาทั่วไป เนื่องจากนักกีฬาอีสปอร์ตไม่เพียงแค่ต้องตื่นแต่เช้าทุกวันเพื่อเล่นเกมเท่านั้น แต่พวกเขายังต้องฝึกฝนทักษะอย่างต่อเนื่องอีกด้วย ชัดเจนเกี่ยวกับเวลาออกกำลังกายของคุณ คุณมีเวลาออกกำลังกายเพื่อให้ร่างกายฟิตอยู่เสมอ อีกทางหนึ่งคือระหว่างการแข่งขันกีฬาเต็มรูปแบบที่ไม่ต้องใช้ความพยายามมาก เช่น สนุกเกอร์หรือโกะ

e-Sport อาชีพ ความฝัน และอุตสาหกรรมที่ไม่ใช่แค่อนาคตอีกต่อไป

เมื่อพูดถึงกีฬาฟุตบอล เราจะสามารถเห็นภาพการแข่งขันที่มีมูลค่าสูง มีคนติดตามอยู่ทั่วโลก มีสปอนเซอร์บนชุดแข่ง นักฟุตบอลชื่อดังเป็นพรีเซ็นเตอร์ (Brand Presenter) ของสินค้าต่าง ๆ เราต่างเห็นความภูมิใจของนักฟุตบอลของแต่ละชาติในการแข่งขันฟุตบอลโลกที่ได้เป็นตัวแทนของชาติ นักเตะในสนามเหล่านั้น หลายคนเป็นเด็กที่เตะฟุตบอลข้างถนนกับเด็กละแวกบ้าน จนไปเข้าตาแมวมองและได้รับการฝึกฝนจนเป็นนักฟุตบอลอาชีพ ที่มีรายได้หลายล้านบาทต่อ 1 สัปดาห์

ปัจจุบันมีกีฬาชนิดใหม่ที่เพิ่มขึ้นมา เป็นกีฬาที่นำเอาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ นั่นคือ e-Sport (Electronic Sport) หรือ กีฬาอิเล็กทรอนิกส์ หลายคนคงรู้สึกว่าขัดแย้งกับภาพลักษณ์ของกีฬา ที่ต้องใช้พละกำลังเล่นกีฬาอย่างที่คุ้นเคยกัน โดยในพจนานุกรมของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ได้นิยามความหมายของกีฬาเอาไว้ว่า การละเล่น การแข่งขัน หรือกิจกรรมที่ต้องการความพยายามเชิงกายภาพและทักษะ ที่ต้องเล่นหรือกระทำภายใต้กติกา เพื่อความบันเทิง และ/หรือ เป็นอาชีพ[1] ซึ่งหากเราลองไปดูที่กีฬาปาเป้า เปตอง หรือการเล่นหมากรุกดู ก็จะเห็นว่าเข้าข่ายนิยามนี้เช่นกัน เพราะต้องใช้ทักษะ มีกติกา และเป็นการแข่งขันระหว่างผู้เล่น

ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ปี 2563 (ซึ่งต้องเลื่อนการแข่งขันมาเนื่องจากปัญหาการแพร่ระบาดของโควิด-19 ขณะเขียนบทความนี้คาดว่าจะแข่งขันในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม 2564[2]) และในปี 2567 ได้มีการพูดคุยกันเรื่องการบรรจุกีฬาอิเล็กทรอนิกส์เข้ามาแข่งขันด้วย[3] แม้ว่า e-Sport ยังไม่ได้รับการจัดให้เป็นกีฬาที่แข่งขันในโอลิกปิก รอบปี 2563 แต่ปัจจุบันมีการจัดแข่งขันเป็นลีก (League) อาชีพอยู่ในหลายระดับ โดยมีผู้จัดที่มีชื่อเสียงคือ บริษัท ESL (Electronic Sport League) ที่ทำหน้าที่ผู้จัดการแข่งขันที่มีกติกา รูปแบบการแข่งขัน และการถ่ายทอดสดอย่างเป็นระบบ หรืออีกตัวอย่างคือ สมาคมกีฬาอิเล็กทรอนิกส์โลก (World Esports Association หรือ WESA) ที่เกิดจาก ESL ร่วมกับทีม e-Sport หลายทีมจัดตั้งสมาคมขึ้นเป็นพื้นที่กลางของผู้เล่น มีการกำหนดกติกา รวมทั้งจัดสรรรายได้ให้แก่ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน[4] อย่างเป็นระบบ

 

บทความที่เกี่ยวข้อง